ถึงแมวา Soft starters จะไมใชเทคโนโลยีใหมที่ใชในการควบคุมมอเตอร์แตการสตารท มอเตอรดวย Soft starters ถือไดวาเปนการสตาร์ทมอเตอรดวยการลดแรงดันวิธีหนึ่ง ดังใน สมการพื้นฐานที่เปนสวนสาคํ ัญที่จะแสดงใหเห็นความสัมพันธระหวางแรงดันและแรงบิด
         Soft Starter สามารถทําการควบคมแรงดันและพลังงานที่จายไปยังมอเตอรได้โดยแรงดันที่คอยๆเพิ่มขึ้นตามการตั้งเวลา Ramp up ทําใหการออกตัว และการหยุดเปนไปอยางนุมนวล ความเร็วที่คอย ๆ เพิ่มขึ้นจะชวยลดแรงฉุดหรือแรงกระชาก ในขณะออกตัวซึ่งจะชวยลดการสึกหรอของอุปกรณตาง ๆ เชน โซสายพาน เกียรหรือเฟอง ทด และอื่น ๆ ได้นอกจากนั้นโดยทั่วไปยังมีฟงกชั่นการจํากัดกระแส (Current Limiting) ทําใหสามารถควบคุมกระแสขณะสตาร์ทไม่ใหเกินคาสูงสุดตามที่ปรบตั้งไวได้ (2.5 – 5ของกระแสพิกัด)  ซึ่งเหมาะสําหรับมอเตอรที่ใชขับโหลดที่มีทอรคเพิ่มขึ้นตามความเร็ว เชน ปม หรือ พัดลม (ตองการทอรคในการออกตัวไมสูง ) ซึ่งต้องการลดกระแสขณะสตาร์ท หรือ กรณีที่โหลดหนักตองการแรงบิด 1 หรือ 2 เทาของทอรคพิกัด กระแสสตารทจะมีคาเทากับ การสตารทดวยวิธีDOL แตจะไมเกิดการกระชากอยางรุนแรง เนื่องจาก Soft Starters จะมี การปองกันกระแสไฟฟาไหลอยางรุนแรง (Switching Surge)                                                  ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ http://www.tinamics.com/download/tinamics_com/sst_utilization_siwa.pdf
              หากพิจารณาในแงของราคาลงทุนขั้นตนการใช Soft Starter อาจจะดูเหมือนมีราคาแพงกวา  เมื่อเปรียบเทียบกับการสตารทดวยวิธีอื่นๆ เชนเมื่อเปรียบเทียบวิธี DOL หรือแบบ StarDelta ดังที่กลาวมา แตหากพิจารณาถึงผลกระทบระยะยาว เชนการสึกหรอและการฉีกขาด ทั้งดานทางกล (Mechanical) และทางดานไฟฟา (Electrical) คาบํารุงรักษาเครื่องจักร เวลาที่เครื่องจักรหยุดทํางาน (Down time ) รวมถึงการชํารุดเสียหายของสินคาที่ผลิต อัน เนื่องจากการกระตุก หรือการกระชากของเครื่องจักรในขณะสตาร์ทและขณะหยุดทำงาน จะ เห็นวาคาใชจายโดยรวมในระยะยาวจะคอนข้างแตกตางกันมาก
                   โดยทั่วไปแล้วอินเวอรเตอร จะมีฟงกชั่นและขีดความสามารถที่เหนือกวา Soft Starters จนกระทั่งมีคํากลาวขานในกลุมตัวแทนจำหน่ายอินเวอรเตอรวา  “ฟงกชั่นอะไรก็ตามที่  Soft Starter ใชงานไดอินเวอรเตอรทําไดหมด”  ถึงแมวาคํากลาวนี้จะเปนจริงก็ตาม แตหาก พิจารณาจากประโยชนในการประยุกต์ใช้ งานแลว เชน ถาเครื่องจักรของคุณไมจําเปนตอง มีการควบคุมความเร็ว ใชงานที่ความเร็วรอบคงที่  (Fixed speed)  ต้องการการควบคุ้ม Ramp time ตองการความนุมนวล  ไมมีการกระตุก  (Jerk) หรือการกระชากในขณะออกตัวหรือช่วง หยุด การใชSoft Starter   จะเปนคำตอบสุดทายที่ถูกตองกวา เนื่องจากจะประหยัด คาใชจายมากกวาการใชอินเวอรเตอร
           จากปัญหาดังที่กล่าวมา สามารถปรับปรุงและแก้ไขได้โดยใช้ Soft Start (การสตาร์ทแบบนุ่มนวล) ลักษณะโครงสร้างที่สำคัญของ Soft Starter คือวงจรกำลัง (Power circuit) จะใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง เข้ามาทำหน้าที่ตัดต่อกระแสไฟฟ้าที่จ่ายไปยังขดลวดมอเตอร์แทนคอนแทคเตอร์ วงจรโดยทั่วไปประกอบด้วยThyristors หรือ SCR ต่อกลับหัวแบบขนานกัน 3 ชุด (Antiparallel หรือ Back to Back )การควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟ้าของ Soft Starter จะขึ้นอยู่กับมุมจุดชนวน (Firingangle) หรือมุมทริกที่ SCR เช่น ถ้ามุมจุดชนวนของ SCR ต่ำหรือเข้าใกล้ 0 องศา แรงดันเฉลี่ยด้านขาออกจะสูง หากมุมจุดชนวน SCR สูงหรือเข้าใกล้ 180 องศา แรงดันเฉลี่ยขาออกก็จะต่ำ